หนึ่งในสิ่งที่น่าเจ็บปวดที่สุดของครูคือการเห็นนักเรียนผู้ใหญ่หลายคนที่ลองฝึกเองหรือเรียนมาเนิ่นนานแล้วรู้สึกเหมือนฝันสลาย เพราะเล่นได้ไม่เพราะและรู้สึกเหมือนไม่ได้รับการปูพื้นฐานอะไรเลย ไม่เข้าใจโน้ต ไม่เข้าใจว่าเสียงเพี้ยนไม่เพี้ยนฟังยังไง ได้แต่สีเพลงไปเป็นเพลงๆ ทั้งๆที่ขาดเพียงแค่เคล็ดลับเล็กน้อยเท่านั้นก็จะไปถึงความฝันที่ตนต้องการได้…
“ซนขนาดไหน คุณครูก็เอาอยู่!!!”
จริงๆแล้วน้องเป็นเด็กที่ฉลาดและหัวไวมากๆ ถึงแม้จะกอดรัดฟัดเหวี่ยงกับคุณครูอยู่ช่วงแรกๆ แต่ปัจจุบันน้องกลายเป็นเด็กที่ตั้งใจเรียนและมีสมาธิในการเล่นไวโอลินสูงมากๆ ทุกวั้นนี้แอบทำให้ครู Surprise ตลอด…
ซ้อมทีละก้าวเล็กๆ จนเป็นบทเพลงที่ยิ่งใหญ่ได้ เรื่องเล็กๆ ที่หลายคนลืมไปในการซ้อมไวโอลิน
“ความสำเร็จที่สะสมเพียงเล็กน้อยในแต่ละวัน
เล็กน้อยจนเราไม่เห็นคุณค่านั้นง่ายมากที่จะถูกมองข้ามไป
เพราะเรามัวแต่มองหาความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ที่ได้มาแบบทันตาเห็น”
อยากให้ลูกเก่งดนตรี? “อย่า” ซ้อมเยอะ
หลายๆ ครั้งที่เราเรียนดนตรี
ครูมักจะบอกกับลูกของเราว่า
“ซ้อมเยอะๆนะ จะได้เก่งๆ”
โดยหลายๆครั้งก็ลืมสอนเด็กไปด้วยว่า
แล้วจะซ้อมยังไงถึงจะมีประสิทธิภาพที่สุด?
เรื่องเล็กๆ ที่ทุกคนอาจลืมไป แต่กลับทำให้ลูกอ่านโน้ตช้าเป็นเต่า…
พ่อแม่คนไหนกำลังส่งลูกเรียนดนตรีแล้วพบว่าลูกมีปัญหาอ่านโน้ตช้า บางทีอ่านผิดๆถูกๆบ้าง กว่าจะนึกโน้ตแต่ละตัวออกนี่แทบจะกลั้นหายใจลุ้นกันตัวโก่ง แน่นอนครับว่าการฝึกอ่านบ่อยๆ มันก็ช่วยได้ แต่ถ้ารู้เคล็ดลับซักนิด จะช่วยให้ชีวิตง่ายขึ้นเยอะเลยครับ
“พรสวรรค์” หรือจะสู้ “พรแสวง”
“พรสวรรค์ เราเลือกเองไม่ได้ว่า
จะประสบความสำเร็จกับอะไร
แต่พรแสวงเราเป็นคนเลือก
ความสำเร็จที่เป็นของเราเอง”
ข้อควรระวัง ควรรู้ไว้ก่อนเลือกเรียนไวโอลินให้ลูก ไม่มีคำว่าเรียนล่ม (ตอนที่ 2)
4. แก้ไขสิ่งที่ผิดนั้น ยากกว่าการลืมทุกอย่างแล้วฝึกใหม่ตั้งแต่ต้น
5. ถ้าเด็กยังไม่พร้อมอย่าบังคับ
ข้อควรระวัง ควรรู้ไว้ก่อนเลือกเรียนไวโอลินให้ลูก ไม่มีคำว่าเรียนล่ม (ตอนที่ 1)
ไวโอลินกลับกลายเป็นเครื่องดนตรีที่เรียนไม่รอดเยอะที่สุดเช่นเดียวกันด้วยเหตุผลหลายประการ ดังนั้นข้อควรระวังดังต่อไปนี้ควรจะรู้ไว้ก่อนให้ลูกเรียนไวโอลิน เพื่อให้การเลือกเรียนไวโอลินเกิดประโยชน์สูงสุดครับ
“อยากให้ลูกเก่งดนตรี พ่อแม่ช่วยได้ตั้งแต่เด็ก” มุมมองของครูดนตรีผู้สร้างแชมป์ไวโอลินระดับประเทศ 5 ปีซ้อน (ตอนที่ 3)
หลังจากเราพูดถึงปัจจัยข้อที่ 1, 2 คือการสร้างสิ่งแวดล้อมทางดนตรีและการสร้างทัศนคติที่ดีทางดนตรีไปแล้ว วันนี้เราจะมาดูปัจจัยสุดท้ายที่ทำให้เด็กที่มาเรียนดนตรีมีโอกาสประสบความสำเร็จมากกว่าเด็กทั่วไป รู้สึกว่าเรียนดนตรีเป็นเรื่องที่ง่ายและเก่งกว่าเด็กทั่วไปในวัยเดียวกัน
“อยากให้ลูกเก่งดนตรี พ่อแม่ช่วยได้ตั้งแต่เด็ก” มุมมองของครูดนตรีผู้สร้างแชมป์ไวโอลินระดับประเทศ 5 ปีซ้อน (ตอนที่ 2)
จากตอนที่แล้วที่เราพูดถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมทางดนตรีซึ่งทำให้เด็กที่มาเรียนดนตรีเหล่านี้เรียนได้เก่งและเร็วกว่าคนอื่น วันนี้เราจะมาดูวิธีการทำให้ลูกเก่งดนตรีโดยพ่อแม่ช่วยได้ตั้งแต่เด็กข้อที่ 2 กันครับ